สวัสดีค่ะ

สวัสดีค่ะ

วันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ความรู้แปลก ๆ

สารและสสาร
สสาร
  • มีมวล
  • ต้องการที่อยู่
  • สัมผัสได้
  • การรู้จักชื่อ

เทหวัตถุ = เนื้อสาร

  • สารเนื้อเดียว
  • สารเนื้อผสม

สารเนื้อเดียว

  • สารบริสุทธิ์
  • สารละลาย (ไม่บริสุทธิ์ )

สารเนื้อผสม

  • ของผสม

สารบริสุทธิ์

  • ธาตุ
  • สารประกอบ

สารละลาย


สารเนื้อเดียว (Homogeneous) คือสารที่มีองค์ประกอบอย่างเดียวหรือหลายอย่างมารวมกันเป็นเนื้อเดียวกัน ได้แก่
สารละลายและสารบริสุทธิ์
สารบริสุทธิ์ (Pure Substance) คือสารเนื้อเดียวที่มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดคงที่ ได้แก่ ธาตุและสารประกอบ
จุดหลอมเหลว (Melting point) → T ทีของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว
จุดเดือด (Boiling point) →T ทีของเหลวเปลี่ยนสถานะกลายเป็นไอขณะนั้นความดันไอของเหลวเท่า
กับความดันบรรยากาศ
สารเนื้อผสม (Heterogeneous) คือสารมีองค์ประกอบหลายอย่างมารวมกันไม่เป็นเนื้อเดียวกัน ได้แก่ ของผสม
ของผสม (Mixture)
1. เกิดจากสารหลายอย่างมาผสมกัน อาจจะเกิดจาก
ธาตุ + ธาตุ เช่น
ธาตุ + สารประกอบ เช่น
สารประกอบ + สารประกอบ เช่น
2. อัตราส่วนไม่แน่นอนในการรวมตัว
3. สมบัติเหมือนของเดิม ไม่เกิดสารใหม่
สารประกอบ (Compound)
1. เกิดจากธาตุมารวมตัวกันโดยมีปฏิกิริยาเคมีเกิดขึ้น
2. เกิดสารใหม่สมบัติแตกต่างจากสารเดิม
3. อัตราส่วนคงที่โดยอะตอมและมวล


ธาตุ (Element) เป็นสารบริสุทธิ์ที่เป็นธาตุชนิดเดียว มี 106 ธาตุ แบ่งเป็น 3 พวก
1. โลหะ (Metal)
2. อโลหะ (Non-Metal)
3. กึ่งโลหะกึ่งอโลหะ (Semimetal หรือ Metalloid)
สารละลาย (Solution) เป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารหลายอย่างมาผสมกัน
จำ แนกตามสถานะ
1. ของแข็ง เกิดจาก แข็ง + แข็ง เช่น Cu + Zn
เหลว + แข็ง เช่น Hg + Ag
ก๊าซ + แข็ง เช่น H2+Pd
2. ของเหลว เกิดจาก แข็ง + เหลว เช่น NaCl + H2O
เหลว + เหลว เช่น H2O + C2H5OH
ก๊าซ + เหลว เช่น O2 + H2O
3. ก๊าซ เกิดจาก แข็ง + ก๊าซ เช่น C + อากาศ
เหลว + ก๊าซ เช่น H2O + อากาศ
ก๊าซ + ก๊าซ เช่น อากาศ
จำ แนกตามองค์ประกอบ
1. ตัวถูกละลาย จะมีปริมาณน้อย
2. ตัวทำ ละลาย จะมีปริมาณมากหรือสถานะเดียวกับสารละลาย
จำ แนกปริมาณของตัวถูกละลาย
1. อิ่มตัว คือ ตัวถูกละลายไม่สามารถละลายในตัวทำ ลายได้เพิ่มขึ้นอีก
2. ไม่อิ่มตัว คือ ตัวถูกละลายยังสามารถละลายในตัวทำ ละลายได้ดี
เกณฑ์การละลาย
1. สารส่วนใหญ่จะละลายได้เพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น
2. เมื่ออุณหภูมิสูง สารละลายได้มากขึ้นจะเป็นดูดความร้อน
3. เมื่ออุณหภูมิสูง สารละลายได้ลดลงจะเป็นคายความร้อน


การทำ สารให้บริสุทธิ์
1. การระเหยแห้ง ของแข็ง + ของเหลว
2. การกลั่น ของแข็ง + ของเหลว
3. การกลั่นลำ ดับส่วน ให้ความร้อนแล้วระเหยไปตามจุดเดือดที่มีความแตกต่างน้อยมาก

4. การกรอง ใช้กับพวกสารแขวนลอย
5. การใช้กรวยแยก ของเหลวที่ไม่ผสมกัน
6. การทำ ให้ตกตะกอน ใส่สารเคมีแล้วเกิดปฏิกิริยากับสารใดสารหนึ่ง
7. การสกัดด้วยตัวทำ ละลาย 1. ต้องสามารถแยกได้ 2. ไม่เป็นพิษ 3. ไม่ทำ ปฏิกิริยากับสิ่งที่แยก
4. สามารถแยกกลับคืนง่าย
8. การสกัดโดยการกลั่นด้วยไอนํ้า ใช้กับสารอินทรีย์ที่มีจุดเดือดสูงไม่ละลายนํ้าโดยใช้นํ้าเป็นตัวพา
ออกมาที่ T ตํ่ากว่าจุดเดือดของสาร
9. โครมาโตรกราฟี อาศัยความสามารถในการละลายกับการถูดดูดซับสาร สารละลายได้ดี อยู่ไกล
จุดศูนย์กลาง ถูกดูดซับได้น้อย
Rf บอกความสามารถในการละลาย
ถ้าใกล้เคียงกันแก้ไขโดย - เปลี่ยนความยาวกระดาษ - เปลี่ยนตัวที่ละลาย
RF = ระยะทางที่ตัวถูกละลายเคลื่อนที่
ระยะทางที่ตัวทำ ละลายหรือสารละลายเคลื่อนที่
สารละลาย (Solution) เป็นสารเนื้อเดียวที่มีขนาดของอนุภาค <10-7 cm. สามารถผ่านกระดาษกรอง และกระดาษเซลโลเฟน
คอลลอยด์ (Colloid) เป็นสารเนื้อเดียวที่มีขนาดอนุภาค 10-7 - 10-4 cm. สามารถผ่านกระดาษกรอง แต่ไม่ผ่านกระดาษเซลโลเฟน สามารถเกิด Tyndall effect ได้
1. Emulsion ของเหลวกระจายในของเหลวโดยมี Emulsifier
ไข่แดงในนํ้าสลัด
เคซีนในนํ้านม
สบู่ในนํ้า + นํ้ามัน
2. Sol ของแข็งกระจายในของเหลว - กำ มะถันคอลลอยด์
3. Gel ของแข็งโมเลกุลใหญ่กระจายในของเหลว - แยม เยลลี่ แป้งเปียก วุ้น
4. Aerosol ของแข็งหรือของเหลวกระจายในก๊าซ - ฝุ่นเมฆหมอกควัน
5. Foam ก๊าซกระจายในของแข็งหรือของเหลว - โฟม
สารแขวนลอย (Suspension) เป็นสารเนื้อผสมที่มีขนาดอนุภาค >10-4 cm. ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง และกระดาษ เซลโลเฟนได้

การเปลี่ยนแปลง
1. การเปลี่ยนสถานะ
ของแข็ง -------- ของเหลว ------- ก๊าซ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น